Six Sigma กับชีวิตจริงในโรงงาน: Blog 14 บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด KS NATION CONSULTANT CO.,LTD. เลขที่ 823/28 ถนนพรหมาสตร์ ตำบลบางปลาสร้อย อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000 ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339, 0886560247, 083 2431855 E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com Bangkok Fax: 02 7441859 Line ID: iatf16949 ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา "นึกถึงไอโซ่ โทรหา KS" 081 3029339, 088 6560247 ณ วันนี้ ระบบบริหารคุณภาพ ค่อนข้างจะนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง ISO9001:2015 ยังน่าจะใช้รับรองอีกสักระยะ ไม่ปรับเวอร์ชั้น แต่ด้านความปลอดภัยกับด้านแรงงาน น่าจะมีความเข้มงวดขึ้น วันที่ 1 มิถุนายน 2565 PDPA: Personal Data Protection Act วันที่ 10 มิถุนายน 2565 จะมีผลบังคับใช้ โรงงานที่มีพนักงาน ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ต้องมีจัดทำมาตรฐานระบบการจัดการ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย.... ดังนั้นโรงงานที่ได้รับรอง ISO45001:2018 ถือว่า มีครบถ้วนแล้ว โรงงานที่ต้องมี บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย: บฉ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ช่วงนี้คนเข้าทดสอบมาก โรงงานที่เข้าข่ายนี้ เข้าใจง่ายๆ คือ 1 มีวัตถุอันตราย 1,000,000 กิโลกรัมต่อปี ทั้งผลิต นำเข้า ส่งออก 2 พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป 3 เข้าข่ายวัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์ แต่ถ้ามีใช้สารเคมีอันตรายตั้งแต่ 1,000 กิโลกรัมต่อปี ต้องรายงานกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี เพิ่มจากที่ส่งรายงาน สอ.1 วัตถุอันตรายให้กระทรวงแรงงาน ทุกสิ้นเดือนมกราคมของทุกปี โรงงานที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรม ที่ใช้ก๊าซไวไฟหรือของเหลวไวไฟ ที่มีปริมาณครอบครองตั้งแต่ 4,545 กิโลกรัม ต้องทำ PSM: Process Safety Management เพื่อความปลอดภัยจากไฟไหม้และเกิดการระเบิด ถ้าทำระบบ ISO จะเข้าใจ มีทำ Internal Audit, Management Review รวมถึงให้ External Auditor มาตรวจ ณ โรงงาน
In-House Training and Consulting
ช่วงนี้โรงงานเริ่มอบรมภายใน เพื่อป้องกันโควิท 19
การ์ดไม่ตก ใส่แมส จัดระยะห่าง ล้างมือด้วยเจลเสมอ ISO9001:2015, ISO13485:2016 ISO14001:2015, ISO45001:2018 ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง ISO&IATF ISO14971:2019 RM for Medical Devices IATF16949:2016, ISO19011:2018 Internal Auditor Control of Documented Information ทุก ISO ผู้เข้าอบรมที่ผ่านเกณฑ์ KS ออก Training Certificate ให้ทุกท่าน
In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA
สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ
การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019.
New FMEA By AIAG & VDA สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link http://safetysolving.blogspot.com/
คุณภาพเป็นเลิศ ราคาพอเพียง ลูกค้าพึงพอใจ
823/28 ถนนพรหมาสตร์ อำเภอเมือง ชลบุรี
081 3029339, 083 2431855
โทรสาร 02 7441859
Line ID: iatf16949
ksnationconsultant@hotmail.com
isoiatf@hotmail.com
หรือที่ isobible@gmail.com
ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
วันที่อบรมสามารถอบรมแยกจากกันคนละเดือนหรือตามความสะดวก
มีทั้งแบบเร่งด่วนหรือโครงการปกติ
"as your require"
บทความ ISO9001&IATF16949/TQM/Six Sigma สามารถคลิ๊ค
บทความ GMP/HACCP/FSMS link: http://qualitysolving.blogspot.com/
บทความ EMS/OH&S /SA8000 link: http://safetysolving.blogspot.com/
สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆ
บทความด้านระบบการจัดการต่างๆของ McQMR และ Soonthorn Ngamprompong หรือ ของสุนทร งามพร้อมพงศ์ (อาจารย์ศรราม) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท KS NATION CONSULTANT CO.,LTD. ห้ามสำเนาและคัดลอกโดยไม่ได้รับอนุญาต Copy Right, All Rights Reserved.
อบรมภายในราคาพิเศษ:
หลักสูตร Logical Thinking คิดแบบมีตรรกะ อบรมหนึ่งวัน ISO9001:2015 New Version และ IATF16949:2016
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO9001:2015 New version
หลักสูตร Risk Management of ISO9001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO9001:2015
EMS ISO14001:2015 New Version
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO14001:2015 New Version
หลักสูตร Risk Management of ISO14001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO14001:2015
OH&S ISO45001:2018
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO45001:2018 New Standard
หลักสูตร Risk Management of ISO45001:2018
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO45001:2018
หลักสูตรต่างๆ ราคาพิเศษ หรือดูจากโบชัวร์ที่จัดส่งให้
หลักสูตรพิเศษ เช่น * การคิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking) * การสอนงาน (The Coaching) * หัวหน้างานสมองเพชร (Genius Supervisory) |
ผู้เขียนไปเชียงใหม่ปี2011 ถ่ายภาพนี้ก่อนเริ่มงานราชพฤษ์พืชสวนโลก
เกิดมหาอุทกภัยหลายจังหวัดและที่กรุงเทพฯ ทำให้งานราชพฤกษ์พืชสวนโลก ได้เลื่อนการจัดงานจากวันที่ 9 พฤศจิกายน มาเป็นวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ.2012 |
ผู้เขียนจะทยอยเขียนบทความเกี่ยวกับ Six Sigma และ TQM (Blog ที่ 15) เพราะว่าสองเครื่องมือนี้ หรือบางท่านมองเป็นระบบที่นำมาช่วยการบริหารคุณภาพ จุดประสงค์เพื่อการแก้ไขปัญหาและปรับปรุงองค์กร โดย Six Sigma จะมีคำว่า Champion, Master Black belt, Black Belt และ Green Belt ที่บางท่านอาจไม่คุ้นชื่อ (หากโรงงานทำแต่ ISO9001 หรือ QMS)
สมัยผู้เขียนอยู่องค์กรหนึ่ง ที่นี่จะให้วิศวกรเข้าใหม่ทุกคน เข้ารับการอบรมเพื่อสอบเป็น Green Belt เพื่อนำความรู้มาใช้แก้ไขปัญหา ก้าวถัดไปต้องสอบเป็น Black Belt โดย Black Belt จะมีความชำนาญมากกว่า Green Belt ฉะนั้นปัญหายากขึ้น มักจะให้ Black Belt รับไปดำเนินการเป็นโปรเจ็ค (Project)
อาจใช้เวลาดำเนินการสามถึงห้าเดือน โดยที่คุณทำแต่โปรเจ็คให้สำเร็จ งานประจำให้ละวางไปเลย หมายถึง หยุดทำ และทุกๆสัปดาห์จะมีคณะกรรมการมาตรวจสอบความคืบหน้าของงาน ช่วงที่ไม่มีใครมาดูงานของ Black Belt คุณจะทำอะไร จะกิน จะนอน ก็ตามใจ ถือเป็นการบริหารเวลาของตนเอง
ปัจจุบันหลายโรงงานนำวิธีการของ Six Sigma มาใช้ในการบริหารคุณภาพและพนักงานยังต้องทำงานประจำตามหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละคนโดยประยุกต์ Six Sigma เข้าไป ซึ่งแตกต่างจากโรงงานเกาหลีแห่งหนึ่งแถวระยอง ทำแบบสไตร์และนโยบายของบริษัทแม่อย่างชัดเจนและให้หยุดทำงานประจำขณะที่ถูกมอบหมายให้ทำแต่ละโปรเจ็ค ส่วนน้องๆวิศวกรระดับ Green Belt มักได้รับมอบหมายให้ทำโปรเจ็คที่ไม่ยากนัก การเลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเลือกเครื่องมือทางสถิติ ต้องเหมาะสมและถูกต้อง จึงจะบรรลุผลสำเร็จ ช่วงแรกๆอาจจะให้ Green Belt ไปศึกษาและช่วยงาน Black Belt ก่อนเพื่อเป็นการเรียนรู้ขั้นตอนของการทำ Six Sigma ซึ่งมี 5 ขั้นตอน
ผู้เขียนขอแทรกสักนิด เนื่องจากมีบางท่านถามว่า NAC คืออะไร โดยปัจจุบัน NAC หรือ National Accreditation Council เปลี่ยนจากที่เคยขึ้นกับสำนักปลัดกระทรวง(อุตสาหกรรม) มาอยู่กับ สมอ. หรือ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (กระทรวงอุตสาหกรรม) เป็นผู้ไปตรวจประเมิน CB (Certification Body) และให้การรับรอง CB ในไทยเรา
ก่อนที่จะอธิบายในรายละเอียด ผู้เขียนนึกถึงโรงงานหนึ่งก่อนหน้านี้พยายามจะนำการบริหารคุณภาพทั้งองค์กร หรือ Total Quality Management (TMQ) มาใช้ในองค์กร ในอดีตมีการอบรมไปแล้วแต่ก็ล้มเลิกไป วันดีคืนดีผู้บริหารประกาศว่าจะนำ Six Sigma มาใช้ในการแก้ไขปัญหาเพราะที่นี่ของเสียมีมากขึ้นเป็นเงาตามตัวกับการเร่งยอดผลิต ยิ่งผู้บริหารไม่เข้าใจกฎหมายแรงงานไทย พอเกิดของเสียจะให้ QA รับผิดสถานเดียว ทุกวันผู้เขียนถูกสั่งให้ไปไล่พนักงานออก หากว่าใครไม่ทำตามคำสั่ง บางครั้งโดนเตือนด้วยวาจาหรือหนังสือเตือน พนักงานหลายคนไม่ยอมเซ็นต์รับ บางคนตัดความรำคาญลงชื่อให้ไป เพื่อลดการถูกตะคอก ตะโกนเสียงดังใส่และทุบโต๊ะทุกวัน บอกว่าองค์กรเราบริหารแบบคล้ายทหาร ทำไมหนอ บรรยากาศมันช่างต่างจากสมัยที่เราเรียน รด. หรือ รักษาดินแดงอย่างมาก สภาพแวดล้อมแบบนี้ทำให้พนักงานแทบไม่มีสมาธิทำงานกัน ทั้งโรงงานจึงมีแต่เรื่องวุ่นวาย และขาดเสน่ห์ไปมาก ทว่าเริ่มมีสีสันมากขึ้นหน่อย เพราะมีน้องลาว (พนักงาน) เข้ามาทำงาน พวกเราเลยกลายเป็นพี่เบิ้มไปเลย
ปกติที่ญี่ปุ่น คนที่มีตำแหน่งผู้จัดการหรือซุปเปอร์ไวเซอร์ จะมีความสามารถใกล้เคียงกัน เพี่ยงแต่ตำแหน่งมีจำกัด กลุ่มคนประเภทเหล่านี้มาทำงานที่เมืองไทยจะบริหารเก่ง หากพื้นเพมีแค่ตำแหน่งเป็นช่างเทคนิคมา มักจะไม่เก่งการจัดการ แต่ความสามารถด้านเทคนิคจะชำนาญมาก ผิดกับเมืองไทยผู้จัดการคนไทยและซุปเปอร์ไวเซอร์ไทยจะแตกต่างกัน เพราะระดับจัดการจะไปทางบริหารได้ แต่ระดับซุปเปอร์ไวเซอร์ไว้ควบคุมคนงาน บางคนความคิดความอ่านไปในทางหัวหน้างานเป็นหลักแต่กลายเป็นผู้จัดการ ครั้นต่อมาจะนำ Six Sigma มาใช้แก้ไขปัญหา คำแรกที่ได้ยินมาจากหลายทิศทางว่า "ทำไม่ได้" ยิ่งเป็นโรงงานที่ล้อเลียนมหากาพย์สามก๊ก เพราะว่ามีทั้งญี่ปุ่น จีน และไทย พอจีนขึ้นมาบริหารแทนญี่ปุ่น แต่ตอนนั้นญี่ปุ่นมีหุ้นส่วนและเป็นลูกค้าด้วย สิ่งที่พนักงานเครียดทุกวัน เพราะเจอแต่ เรืองสองคนสองคม หักเหลี่ยมหักมุมกันตลอด ก๊กไทยมีสภาพเป็นลูกจ้าง จะหันไปซ้ายหรือขวาก็ลำบาก บางคนเล่นหันเข้าหาสองด้าน ทั้งซ้ายและขวาถือเป็นความสามารถเฉพาะตัว ก็เข้าใจและไม่ว่ากัน มีพี่คนหนึ่งพอบริษัทเปิดให้เออรี่รีไทน์ ขอยื่นทันทีและโบกมืออำลาด้วยความรักเพราะอยู่มาเกือบสามสิบปี อาลัยอาวรหรือไม่ ตอบไม่ได้ แต่รู้ว่าโล่งอกและสบายใจ
เคยมีคำพูดว่า ห้ามมีสามกลุ่ม ห้ามมีภรรยาสามคน ห้ามมีเพื่อนซี้สามคน (รวมเราด้วย) หากมีครบสามเมื่อไรมักเกิดสามก๊ก ในประวัติศาสตร์ชาติจีนรบกันถึงห้าสิบเก้าปีประชาชนเดือดร้อนทุกหย่อมหญ้า ในโรงงานก็เหมือนกันหากมีสามก๊กเมื่อไรพนักงานเดือดร้อน แต่ที่หน้าเห็นใจคือพนักงานไทยเรา รวมทั้งพี่ป้าน้าอาเหนื่อยไปเลย สุดท้ายขอให้มองถึงผลประโยชน์ขององค์กรก็ต้องช่วย(จีน)กันพัฒนาบริษัทให้เติบโตนำ Six Sigma มาใช้เป็นเครื่องมือแก้ไขปัญหา และทำตามกติกาของการบริหารคุณภาพ หรือ ISO 9001 โดยปฎิบัติที่ดีต่อลูกค้า(ญี่ปุ่น) รวมทั้งซื่อสัตย์ ต้องไม่ทำแบบในอดีต สินค้ามีคุณภาพแบบสีขาวหรือแบบสีดำ บอกว่าไม่เป็นไรแต่ขอให้ขายได้ โดยควรกลับไปทำให้แมวจะสีขาวหรือสีดำขอให้จับหนูได้(แบบวลีดังของท่านเติ้ง เสี่ยวผิง) ซึ่งพนักงานฝ่ายคิวเอจับของเสียได้บ่อย(หมายถึงหนู) พวกท่านต้องจับหนูและคนเลี้ยงหนูให้ได้และนำมาย่าง ซิก ซิกม่าจึงจะเกิด ส่งผลให้สินค้าสามารถ Positioning ในตลาดเมืองไทย พี่ป้าน้าอาของก๊กที่สามก็จะได้มีงานทำช่วงโอที(ล้อเล่นนะครับ) ขอแก้ไขใหม่พูดว่าเราจะได้ภูมิใจ(ไทย)ว่า ข้าทำมากับมือนะจะบอกให้ท่านเนวิน(ไม่น่าจะเกี่ยวกันเลย)
ทั้งห้าขั้นตอนของ Six Sigma (DMAIC: Define, Measure, Analyze, Improve, Control) มีดังนี้
เขียนต่อคราวหน้า
อาจใช้เวลาดำเนินการสามถึงห้าเดือน โดยที่คุณทำแต่โปรเจ็คให้สำเร็จ งานประจำให้ละวางไปเลย หมายถึง หยุดทำ และทุกๆสัปดาห์จะมีคณะกรรมการมาตรวจสอบความคืบหน้าของงาน ช่วงที่ไม่มีใครมาดูงานของ Black Belt คุณจะทำอะไร จะกิน จะนอน ก็ตามใจ ถือเป็นการบริหารเวลาของตนเอง
ปัจจุบันหลายโรงงานนำวิธีการของ Six Sigma มาใช้ในการบริหารคุณภาพและพนักงานยังต้องทำงานประจำตามหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละคนโดยประยุกต์ Six Sigma เข้าไป ซึ่งแตกต่างจากโรงงานเกาหลีแห่งหนึ่งแถวระยอง ทำแบบสไตร์และนโยบายของบริษัทแม่อย่างชัดเจนและให้หยุดทำงานประจำขณะที่ถูกมอบหมายให้ทำแต่ละโปรเจ็ค ส่วนน้องๆวิศวกรระดับ Green Belt มักได้รับมอบหมายให้ทำโปรเจ็คที่ไม่ยากนัก การเลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเลือกเครื่องมือทางสถิติ ต้องเหมาะสมและถูกต้อง จึงจะบรรลุผลสำเร็จ ช่วงแรกๆอาจจะให้ Green Belt ไปศึกษาและช่วยงาน Black Belt ก่อนเพื่อเป็นการเรียนรู้ขั้นตอนของการทำ Six Sigma ซึ่งมี 5 ขั้นตอน
ผู้เขียนขอแทรกสักนิด เนื่องจากมีบางท่านถามว่า NAC คืออะไร โดยปัจจุบัน NAC หรือ National Accreditation Council เปลี่ยนจากที่เคยขึ้นกับสำนักปลัดกระทรวง(อุตสาหกรรม) มาอยู่กับ สมอ. หรือ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (กระทรวงอุตสาหกรรม) เป็นผู้ไปตรวจประเมิน CB (Certification Body) และให้การรับรอง CB ในไทยเรา
ก่อนที่จะอธิบายในรายละเอียด ผู้เขียนนึกถึงโรงงานหนึ่งก่อนหน้านี้พยายามจะนำการบริหารคุณภาพทั้งองค์กร หรือ Total Quality Management (TMQ) มาใช้ในองค์กร ในอดีตมีการอบรมไปแล้วแต่ก็ล้มเลิกไป วันดีคืนดีผู้บริหารประกาศว่าจะนำ Six Sigma มาใช้ในการแก้ไขปัญหาเพราะที่นี่ของเสียมีมากขึ้นเป็นเงาตามตัวกับการเร่งยอดผลิต ยิ่งผู้บริหารไม่เข้าใจกฎหมายแรงงานไทย พอเกิดของเสียจะให้ QA รับผิดสถานเดียว ทุกวันผู้เขียนถูกสั่งให้ไปไล่พนักงานออก หากว่าใครไม่ทำตามคำสั่ง บางครั้งโดนเตือนด้วยวาจาหรือหนังสือเตือน พนักงานหลายคนไม่ยอมเซ็นต์รับ บางคนตัดความรำคาญลงชื่อให้ไป เพื่อลดการถูกตะคอก ตะโกนเสียงดังใส่และทุบโต๊ะทุกวัน บอกว่าองค์กรเราบริหารแบบคล้ายทหาร ทำไมหนอ บรรยากาศมันช่างต่างจากสมัยที่เราเรียน รด. หรือ รักษาดินแดงอย่างมาก สภาพแวดล้อมแบบนี้ทำให้พนักงานแทบไม่มีสมาธิทำงานกัน ทั้งโรงงานจึงมีแต่เรื่องวุ่นวาย และขาดเสน่ห์ไปมาก ทว่าเริ่มมีสีสันมากขึ้นหน่อย เพราะมีน้องลาว (พนักงาน) เข้ามาทำงาน พวกเราเลยกลายเป็นพี่เบิ้มไปเลย
ปกติที่ญี่ปุ่น คนที่มีตำแหน่งผู้จัดการหรือซุปเปอร์ไวเซอร์ จะมีความสามารถใกล้เคียงกัน เพี่ยงแต่ตำแหน่งมีจำกัด กลุ่มคนประเภทเหล่านี้มาทำงานที่เมืองไทยจะบริหารเก่ง หากพื้นเพมีแค่ตำแหน่งเป็นช่างเทคนิคมา มักจะไม่เก่งการจัดการ แต่ความสามารถด้านเทคนิคจะชำนาญมาก ผิดกับเมืองไทยผู้จัดการคนไทยและซุปเปอร์ไวเซอร์ไทยจะแตกต่างกัน เพราะระดับจัดการจะไปทางบริหารได้ แต่ระดับซุปเปอร์ไวเซอร์ไว้ควบคุมคนงาน บางคนความคิดความอ่านไปในทางหัวหน้างานเป็นหลักแต่กลายเป็นผู้จัดการ ครั้นต่อมาจะนำ Six Sigma มาใช้แก้ไขปัญหา คำแรกที่ได้ยินมาจากหลายทิศทางว่า "ทำไม่ได้" ยิ่งเป็นโรงงานที่ล้อเลียนมหากาพย์สามก๊ก เพราะว่ามีทั้งญี่ปุ่น จีน และไทย พอจีนขึ้นมาบริหารแทนญี่ปุ่น แต่ตอนนั้นญี่ปุ่นมีหุ้นส่วนและเป็นลูกค้าด้วย สิ่งที่พนักงานเครียดทุกวัน เพราะเจอแต่ เรืองสองคนสองคม หักเหลี่ยมหักมุมกันตลอด ก๊กไทยมีสภาพเป็นลูกจ้าง จะหันไปซ้ายหรือขวาก็ลำบาก บางคนเล่นหันเข้าหาสองด้าน ทั้งซ้ายและขวาถือเป็นความสามารถเฉพาะตัว ก็เข้าใจและไม่ว่ากัน มีพี่คนหนึ่งพอบริษัทเปิดให้เออรี่รีไทน์ ขอยื่นทันทีและโบกมืออำลาด้วยความรักเพราะอยู่มาเกือบสามสิบปี อาลัยอาวรหรือไม่ ตอบไม่ได้ แต่รู้ว่าโล่งอกและสบายใจ
เคยมีคำพูดว่า ห้ามมีสามกลุ่ม ห้ามมีภรรยาสามคน ห้ามมีเพื่อนซี้สามคน (รวมเราด้วย) หากมีครบสามเมื่อไรมักเกิดสามก๊ก ในประวัติศาสตร์ชาติจีนรบกันถึงห้าสิบเก้าปีประชาชนเดือดร้อนทุกหย่อมหญ้า ในโรงงานก็เหมือนกันหากมีสามก๊กเมื่อไรพนักงานเดือดร้อน แต่ที่หน้าเห็นใจคือพนักงานไทยเรา รวมทั้งพี่ป้าน้าอาเหนื่อยไปเลย สุดท้ายขอให้มองถึงผลประโยชน์ขององค์กรก็ต้องช่วย(จีน)กันพัฒนาบริษัทให้เติบโตนำ Six Sigma มาใช้เป็นเครื่องมือแก้ไขปัญหา และทำตามกติกาของการบริหารคุณภาพ หรือ ISO 9001 โดยปฎิบัติที่ดีต่อลูกค้า(ญี่ปุ่น) รวมทั้งซื่อสัตย์ ต้องไม่ทำแบบในอดีต สินค้ามีคุณภาพแบบสีขาวหรือแบบสีดำ บอกว่าไม่เป็นไรแต่ขอให้ขายได้ โดยควรกลับไปทำให้แมวจะสีขาวหรือสีดำขอให้จับหนูได้(แบบวลีดังของท่านเติ้ง เสี่ยวผิง) ซึ่งพนักงานฝ่ายคิวเอจับของเสียได้บ่อย(หมายถึงหนู) พวกท่านต้องจับหนูและคนเลี้ยงหนูให้ได้และนำมาย่าง ซิก ซิกม่าจึงจะเกิด ส่งผลให้สินค้าสามารถ Positioning ในตลาดเมืองไทย พี่ป้าน้าอาของก๊กที่สามก็จะได้มีงานทำช่วงโอที(ล้อเล่นนะครับ) ขอแก้ไขใหม่พูดว่าเราจะได้ภูมิใจ(ไทย)ว่า ข้าทำมากับมือนะจะบอกให้ท่านเนวิน(ไม่น่าจะเกี่ยวกันเลย)
ทั้งห้าขั้นตอนของ Six Sigma (DMAIC: Define, Measure, Analyze, Improve, Control) มีดังนี้
เขียนต่อคราวหน้า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น