บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
เลขที่ 823/28 ถนนพรหมาสตร์ ตำบลบางปลาสร้อย อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000
ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339, 0886560247, 083 2431855
E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com
Bangkok Fax: 02 7441859
Line ID: iatf16949
E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com
Bangkok Fax: 02 7441859
Line ID: iatf16949
ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
"นึกถึงไอโซ่ โทรหา KS" 081 3029339, 088 6560247
ณ วันนี้ ระบบบริหารคุณภาพ ค่อนข้างจะนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง
ISO9001:2015 ยังน่าจะใช้รับรองอีกสักระยะ ไม่ปรับเวอร์ชั้น
แต่ด้านความปลอดภัยกับด้านแรงงาน น่าจะมีความเข้มงวดขึ้น
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 PDPA: Personal Data Protection Act
วันที่ 10 มิถุนายน 2565 จะมีผลบังคับใช้ โรงงานที่มีพนักงาน
ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ต้องมีจัดทำมาตรฐานระบบการจัดการ
อาชีวอนามัย ความปลอดภัย....
ดังนั้นโรงงานที่ได้รับรอง ISO45001:2018 ถือว่า มีครบถ้วนแล้ว
โรงงานที่ต้องมี บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย: บฉ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ช่วงนี้คนเข้าทดสอบมาก
โรงงานที่เข้าข่ายนี้ เข้าใจง่ายๆ คือ
1 มีวัตถุอันตราย 1,000,000 กิโลกรัมต่อปี ทั้งผลิต นำเข้า ส่งออก
2 พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป
3 เข้าข่ายวัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์
แต่ถ้ามีใช้สารเคมีอันตรายตั้งแต่ 1,000 กิโลกรัมต่อปี
ต้องรายงานกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี
เพิ่มจากที่ส่งรายงาน สอ.1 วัตถุอันตรายให้กระทรวงแรงงาน
ทุกสิ้นเดือนมกราคมของทุกปี
โรงงานที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรม ที่ใช้ก๊าซไวไฟหรือของเหลวไวไฟ
ที่มีปริมาณครอบครองตั้งแต่ 4,545 กิโลกรัม ต้องทำ
PSM: Process Safety Management
เพื่อความปลอดภัยจากไฟไหม้และเกิดการระเบิด
ถ้าทำระบบ ISO จะเข้าใจ มีทำ Internal Audit, Management Review
รวมถึงให้ External Auditor มาตรวจ ณ โรงงาน
In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ช่วงนี้โรงงานเริ่มอบรมภายใน เพื่อป้องกันโควิท 19
ช่วงนี้โรงงานเริ่มอบรมภายใน เพื่อป้องกันโควิท 19
การ์ดไม่ตก ใส่แมส จัดระยะห่าง ล้างมือด้วยเจลเสมอ
ISO9001:2015, ISO13485:2016
ISO14001:2015, ISO45001:2018
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง
IATF16949:2016, ISO19011:2018 Internal Auditor
Control of Documented Information ทุก ISO
ผู้เข้าอบรมเข้าอบรมที่ผ่านเกณฑ์ KS ออก Training Certificate ให้ทุกท่าน
In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA
สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ
การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019.
การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019.
สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link http://safetysolving.blogspot.com/
คุณภาพเป็นเลิศ ราคาพอเพียง ลูกค้าพึงพอใจ
823/28 ถนนพรหมาสตร์ อำเภอเมือง ชลบุรี
081 3029339, 083 2431855
โทรสาร 02 7441859
Line ID: iatf16949
Line ID: iatf16949
ksnationconsultant@hotmail.com
isoiatf@hotmail.com
isoiatf@hotmail.com
หรือที่ isobible@gmail.com
ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
วันที่อบรมสามารถอบรมแยกจากกันคนละเดือนหรือตามความสะดวก
มีทั้งแบบเร่งด่วนหรือโครงการปกติ
"as your require"
บทความ ISO9001&IATF16949/TQM/Six Sigma สามารถคลิ๊ค
บทความ GMP/HACCP/FSMS link: http://qualitysolving.blogspot.com/
บทความ EMS/OH&S /SA8000 link: http://safetysolving.blogspot.com/
สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆ
บทความด้านระบบการจัดการต่างๆของ McQMR และ Soonthorn Ngamprompong หรือ ของสุนทร งามพร้อมพงศ์ (อาจารย์ศรราม) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท KS NATION CONSULTANT CO.,LTD. ห้ามสำเนาและคัดลอกโดยไม่ได้รับอนุญาต Copy Right, All Rights Reserved.
อบรมภายในราคาพิเศษ:
หลักสูตร Logical Thinking คิดแบบมีตรรกะ อบรมหนึ่งวัน
ISO9001:2015 New Version และ IATF16949:2016
หลักสูตร Logical Thinking คิดแบบมีตรรกะ อบรมหนึ่งวัน
ISO9001:2015 New Version และ IATF16949:2016
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO9001:2015 New version
หลักสูตร Risk Management of ISO9001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO9001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO9001:2015
EMS ISO14001:2015 New Version
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO14001:2015 New Version
หลักสูตร Risk Management of ISO14001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO14001:2015
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO14001:2015
OH&S ISO45001:2018
หลักสูตรข้อกำหนด Requirements of ISO45001:2018 New Standard
หลักสูตร Risk Management of ISO45001:2018
หลักสูตรผู้ตรวจติดตามภายใน Internal Auditor of ISO45001:2018
หลักสูตรต่างๆ ราคาพิเศษ หรือดูจากโบชัวร์ที่จัดส่งให้
หลักสูตรพิเศษ เช่น
* การคิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking)
* การสอนงาน (The Coaching)
* หัวหน้างานสมองเพชร (Genius Supervisory)
หลักสูตรพิเศษ เช่น
* การคิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking)
* การสอนงาน (The Coaching)
* หัวหน้างานสมองเพชร (Genius Supervisory)
KPI
วันนี้ผู้เขียน จะนำเรื่องวัตถุประสงค์คุณภาพมาอธิบายว่า ข้อกำหนดของ ISO 9001:2008 ไม่เขียนระบุว่า Key Performance Indicator หรือ KPI แต่ระบุเป็นข้อกำหนด 5.4.1 Quality Objectives หรือ วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ที่ผู้บริหารระดับสูง (Top Management) ต้องกำหนดขึ้นมาให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ ซึ่งต้องสามารถวัดค่าได้ สอดคล้อง และสมเหตุสมผลกับนโยบายคุณภาพ (Policy)
ทุกปีจะมีการประชุมงานบริหารคุณภาพ (Management Review) ตัวแทนฝ่ายบริหาร หรือ QMR ต้องรวมปัญหาของทุกฝ่าย และการปฎิบัติยังสอดคล้องกับนโยบายคุณภาพหรือไม่ เมื่อนโยบายชัดเจน กำหนดวัตถุประสงค์ได้แล้ว ก็ต้องมีค่าเป้าหมาย (Target) ที่ตั้งออกมาเป็นตัวเลข หรือค่าเชิงปริมาณ
จากนั้นการวัดค่าเป่าหมายว่าได้เป้าหรือไม่ ต้องมีตัววัดชี้ ที่มักเรียกขานกันว่า KPI บางท่านเรียกว่า ดรรชนีวัดชี้ หรือ ดรรชนีวัดผล ว่าการทำงาน หรือทำแผนงานต่างๆประสบผลสำเร็จมากน้อยเพียงใด
พูดถึง KPI ทุกท่านอาจนึกถึงหัวข้อ Balance Scorecard ซึ่งเป็นกลยุทธ์ในการบริหาร โดยมี KPI เป็นเครื่องมือ (Tool) ที่ช่วยให้งานบรรลุผลสำเร็จ ผู้ที่อบรม Balance Scorecard จะเข้าใจการเขียนและกำหนด KPI ได้ง่าย เพราะ Balance Scorecard เน้นไปที่ 4 เรื่องหลัก (สอนวิธีการทำ KPI ด้วย) จากนั้นองค์กรโดยทีมบริหาร อาจใช้ที่ปรึกษาบริษัท ทำการวิเคราะห์จุดอ่อน/จุดแข็ง แล้วกำหนดค่า KPI ซึ่งหลายองค์กรใช้เป็นกลยุทธ์ในการขับเคลื่อนองค์กรไปข้างหน้า จะนำมาเขียนลงบทความต่อไปในอนาคต
กลับมาเรื่อง KPI ในข้อกำหนด ISO 9001: 2008 ไม่ได้ระบุว่าทุกฝ่ายต้องกำหนดวัตถุประสงค์คุณภาพ แต่องค์กรใหญ่ๆ มักกำหนดครบทุกฝ่าย ทุกตำแหน่ง เพื่อใช้วัดผลของงานที่สำเร็จตลอดทั้งปี แน่นอนมีผลต่อการปรับขึ้นเงินดือน ให้โบนัส และโอกาสโปรโมทตำแหน่งงาน ส่วนองค์กรที่เพิ่งเข้าระบบบริหารคุณภาพ อาจกำหนดไปที่กระบวนการหลัก หรือ Core/ Main Process จากนั้นค่อยขยายไปทั่วทั้งองค์กร
เน้นเรื่องใกล้ตัวก่อน เช่น ลดของเสีย เพิ่มผลผลิต ลดงานเคลม เพิ่มยอดขาย เป็นต้น
บางครั้งพบว่าผู้ตรวจประเมิน จะเน้นเรื่องนี้ มักกดดันให้องค์กรต้องมี KPI ทุกแผนก (แต่ตามข้อกำหนดไม่จำเป็นว่าทุกแผนกต้องมี) จริงๆจะเรียกกดดันอาจไม่ถูกต้อง เพราะยังมีข้อกำหนด ISO 9001: 2008 ข้อกำหนดที่ 8.5.1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continual Improvement) ระบุการที่องค์มีการปรับปรุงนั้น คือ มีนโยบายคุณภาพ มีวัตถุประสงค์คุณภาพ อื่นๆ แสดงว่า เมื่อผู้บริหารกำหนดวัตถุประสงค์คุณภาพแล้ว จากนั้นแต่ละฝ่าย หรือผู้เกี่ยวข้อง ให้นำไปปฎิบัติว่าจะทำอย่างไรให้บรรลุเป้าหมาย เป็นไปตามนโยบายที่รับมา (Policy Deployment)
เมื่อมีวัตถุประสงค์ มีค่าเป้าหมาย หรือ KPI โดยฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะนำไปจัดทำแผนงาน ที่นิยมเรียกว่า แผนปฎิบัติการ (Action Plan) หากผลลัพธ์ของงานได้ตามเป้า หรือ KPI เป็นอันหมดห่วง ให้ทำต่อไปในเรื่องที่ท้าทายมากๆ ฉะนั้นการตั้ง KPI แรกๆ ก็กำหนดขึ้นมา ดูความเป็นไปได้ด้วย หากตั้งแล้ว ไม่มีทางทำได้ ย่อมไม่เกิดประโยชน์
เช่น ตั้งเป้าลดของเสียฝ่ายผลิตเหลือ 1% แต่พบว่าของเสีย หรือ Lost ในกระบวนการผลิตที่เกิดจากตัวกระบวนการอันมาจากความจำกัดของเทคโนโลยี่เท่ากับ 5% ส่งผลให้ทำอย่างไรก็ไม่มีทางบรรลุเป้าหมาย ISO ใช้คำว่า Continual Improvement หมายความให้องค์กรทยอยปรับปรุง หากทำได้แค่นั้นก็จบ เปลี่ยนไปปรับปรุงเรื่องใหม่ได้ ทำแบบขั้นบันได หากใช้ศัพท์ว่า Continuous Improvement คงต้องขึ้นต่อเนื่องแบบเส้นตรง หรือหยุดไม่ได้ ก็แล้วแต่จะตีความกัน หากพบผู้ตรวจประเมินน้องใหม่ บอกว่าทุกแผนกต้องมี KPI ผลงานต้องได้เป้าหมายด้วย จะได้เอามายันกัน ผู้เขียนมองว่าผู้ตวจประเมินส่วนใหญ่ค่อนข้างแม่นขัอกำหนด ปัญหาจะพบมากกว่าที่ผู้ตรวจติดตามภายในมือใหม่ ที่ยังไม่ค่อยแม่นข้อกำหนดนัก ต้องพยายามฝึกฝน หาโอกาสไปอบรมบ่อยๆ อ่านมากๆ
เวลาผู้ตรวจประเมินมาตรวจค่าเป้าหมายว่าบรรลุหรือไม่ เป็นไปตามวัตถุประสงค์คุณภาพอย่างไร การไม่ได้เป้า ไม่ใช่จะถูกออกเป็นข้อบกพร่อง หากโรงงานพิสูจน์ว่าได้พยายามทำ เมื่อรู้ว่าไม่ได้ตาม KPI ที่กำหนด ได้มีการวิเคราะห์หาสาเหตุ พยายามทำใหม่ ปรับแผนงาน สำหรับฝ่ายที่โดนออกข้อบกพร่อง ส่วนใหญ่ไม่ทำต่อเนื่อง ขาดการดำเนินการ หรือพบว่าเมื่อทำไม่ได้ กลับปล่อยทิ้งไว้ เสมือนดินพอกหางหมู อย่างนี้โดนข้อบกพร่อง หรือ CAR แน่นอน
ในทางกลับกัน บางครั้งการตั้งค่าเป้าหมายไม่ได้สมเหตุสมผลกับวัตถุประสงค์ และวัตถุประสงค์ก็ไม่สอดคล้องกับนโยบาย ผู้ตรวจประเมินเคยออกข้อสังเกตุให้ก็มี ผู้เขียนสังเกตุว่า โรงงานที่เคยอบรม Balance Scorecard มักกำหนดเกี่ยวกับค่า KPI ได้ดีกว่า แต่ไม่จำเป็นเสมอไป
เขียนต่อคราวหน้า
วันนี้ผู้เขียน จะนำเรื่องวัตถุประสงค์คุณภาพมาอธิบายว่า ข้อกำหนดของ ISO 9001:2008 ไม่เขียนระบุว่า Key Performance Indicator หรือ KPI แต่ระบุเป็นข้อกำหนด 5.4.1 Quality Objectives หรือ วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ ที่ผู้บริหารระดับสูง (Top Management) ต้องกำหนดขึ้นมาให้สอดคล้องกับข้อกำหนดของผลิตภัณฑ์ ซึ่งต้องสามารถวัดค่าได้ สอดคล้อง และสมเหตุสมผลกับนโยบายคุณภาพ (Policy)
ทุกปีจะมีการประชุมงานบริหารคุณภาพ (Management Review) ตัวแทนฝ่ายบริหาร หรือ QMR ต้องรวมปัญหาของทุกฝ่าย และการปฎิบัติยังสอดคล้องกับนโยบายคุณภาพหรือไม่ เมื่อนโยบายชัดเจน กำหนดวัตถุประสงค์ได้แล้ว ก็ต้องมีค่าเป้าหมาย (Target) ที่ตั้งออกมาเป็นตัวเลข หรือค่าเชิงปริมาณ
จากนั้นการวัดค่าเป่าหมายว่าได้เป้าหรือไม่ ต้องมีตัววัดชี้ ที่มักเรียกขานกันว่า KPI บางท่านเรียกว่า ดรรชนีวัดชี้ หรือ ดรรชนีวัดผล ว่าการทำงาน หรือทำแผนงานต่างๆประสบผลสำเร็จมากน้อยเพียงใด
ดวงอาทิตย์ตกที่แหลมพรหมเทพ ภูเก็ต |
พูดถึง KPI ทุกท่านอาจนึกถึงหัวข้อ Balance Scorecard ซึ่งเป็นกลยุทธ์ในการบริหาร โดยมี KPI เป็นเครื่องมือ (Tool) ที่ช่วยให้งานบรรลุผลสำเร็จ ผู้ที่อบรม Balance Scorecard จะเข้าใจการเขียนและกำหนด KPI ได้ง่าย เพราะ Balance Scorecard เน้นไปที่ 4 เรื่องหลัก (สอนวิธีการทำ KPI ด้วย) จากนั้นองค์กรโดยทีมบริหาร อาจใช้ที่ปรึกษาบริษัท ทำการวิเคราะห์จุดอ่อน/จุดแข็ง แล้วกำหนดค่า KPI ซึ่งหลายองค์กรใช้เป็นกลยุทธ์ในการขับเคลื่อนองค์กรไปข้างหน้า จะนำมาเขียนลงบทความต่อไปในอนาคต
กลับมาเรื่อง KPI ในข้อกำหนด ISO 9001: 2008 ไม่ได้ระบุว่าทุกฝ่ายต้องกำหนดวัตถุประสงค์คุณภาพ แต่องค์กรใหญ่ๆ มักกำหนดครบทุกฝ่าย ทุกตำแหน่ง เพื่อใช้วัดผลของงานที่สำเร็จตลอดทั้งปี แน่นอนมีผลต่อการปรับขึ้นเงินดือน ให้โบนัส และโอกาสโปรโมทตำแหน่งงาน ส่วนองค์กรที่เพิ่งเข้าระบบบริหารคุณภาพ อาจกำหนดไปที่กระบวนการหลัก หรือ Core/ Main Process จากนั้นค่อยขยายไปทั่วทั้งองค์กร
เน้นเรื่องใกล้ตัวก่อน เช่น ลดของเสีย เพิ่มผลผลิต ลดงานเคลม เพิ่มยอดขาย เป็นต้น
บางครั้งพบว่าผู้ตรวจประเมิน จะเน้นเรื่องนี้ มักกดดันให้องค์กรต้องมี KPI ทุกแผนก (แต่ตามข้อกำหนดไม่จำเป็นว่าทุกแผนกต้องมี) จริงๆจะเรียกกดดันอาจไม่ถูกต้อง เพราะยังมีข้อกำหนด ISO 9001: 2008 ข้อกำหนดที่ 8.5.1 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continual Improvement) ระบุการที่องค์มีการปรับปรุงนั้น คือ มีนโยบายคุณภาพ มีวัตถุประสงค์คุณภาพ อื่นๆ แสดงว่า เมื่อผู้บริหารกำหนดวัตถุประสงค์คุณภาพแล้ว จากนั้นแต่ละฝ่าย หรือผู้เกี่ยวข้อง ให้นำไปปฎิบัติว่าจะทำอย่างไรให้บรรลุเป้าหมาย เป็นไปตามนโยบายที่รับมา (Policy Deployment)
เมื่อมีวัตถุประสงค์ มีค่าเป้าหมาย หรือ KPI โดยฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะนำไปจัดทำแผนงาน ที่นิยมเรียกว่า แผนปฎิบัติการ (Action Plan) หากผลลัพธ์ของงานได้ตามเป้า หรือ KPI เป็นอันหมดห่วง ให้ทำต่อไปในเรื่องที่ท้าทายมากๆ ฉะนั้นการตั้ง KPI แรกๆ ก็กำหนดขึ้นมา ดูความเป็นไปได้ด้วย หากตั้งแล้ว ไม่มีทางทำได้ ย่อมไม่เกิดประโยชน์
เช่น ตั้งเป้าลดของเสียฝ่ายผลิตเหลือ 1% แต่พบว่าของเสีย หรือ Lost ในกระบวนการผลิตที่เกิดจากตัวกระบวนการอันมาจากความจำกัดของเทคโนโลยี่เท่ากับ 5% ส่งผลให้ทำอย่างไรก็ไม่มีทางบรรลุเป้าหมาย ISO ใช้คำว่า Continual Improvement หมายความให้องค์กรทยอยปรับปรุง หากทำได้แค่นั้นก็จบ เปลี่ยนไปปรับปรุงเรื่องใหม่ได้ ทำแบบขั้นบันได หากใช้ศัพท์ว่า Continuous Improvement คงต้องขึ้นต่อเนื่องแบบเส้นตรง หรือหยุดไม่ได้ ก็แล้วแต่จะตีความกัน หากพบผู้ตรวจประเมินน้องใหม่ บอกว่าทุกแผนกต้องมี KPI ผลงานต้องได้เป้าหมายด้วย จะได้เอามายันกัน ผู้เขียนมองว่าผู้ตวจประเมินส่วนใหญ่ค่อนข้างแม่นขัอกำหนด ปัญหาจะพบมากกว่าที่ผู้ตรวจติดตามภายในมือใหม่ ที่ยังไม่ค่อยแม่นข้อกำหนดนัก ต้องพยายามฝึกฝน หาโอกาสไปอบรมบ่อยๆ อ่านมากๆ
เวลาผู้ตรวจประเมินมาตรวจค่าเป้าหมายว่าบรรลุหรือไม่ เป็นไปตามวัตถุประสงค์คุณภาพอย่างไร การไม่ได้เป้า ไม่ใช่จะถูกออกเป็นข้อบกพร่อง หากโรงงานพิสูจน์ว่าได้พยายามทำ เมื่อรู้ว่าไม่ได้ตาม KPI ที่กำหนด ได้มีการวิเคราะห์หาสาเหตุ พยายามทำใหม่ ปรับแผนงาน สำหรับฝ่ายที่โดนออกข้อบกพร่อง ส่วนใหญ่ไม่ทำต่อเนื่อง ขาดการดำเนินการ หรือพบว่าเมื่อทำไม่ได้ กลับปล่อยทิ้งไว้ เสมือนดินพอกหางหมู อย่างนี้โดนข้อบกพร่อง หรือ CAR แน่นอน
ในทางกลับกัน บางครั้งการตั้งค่าเป้าหมายไม่ได้สมเหตุสมผลกับวัตถุประสงค์ และวัตถุประสงค์ก็ไม่สอดคล้องกับนโยบาย ผู้ตรวจประเมินเคยออกข้อสังเกตุให้ก็มี ผู้เขียนสังเกตุว่า โรงงานที่เคยอบรม Balance Scorecard มักกำหนดเกี่ยวกับค่า KPI ได้ดีกว่า แต่ไม่จำเป็นเสมอไป
เขียนต่อคราวหน้า
หลักสูตรอบรม 1 วัน/ที่บรรยายประจำ
In-House Training
1 หลักสูตรข้อกำหนด ISO9001:2015 New Version
2 หลักสูตรข้อกำหนด ISO14001:2015 New Version
3 หลักสูตรการเตรียมตัวและปรับเปลี่ยนเข้าสู่มาตรฐาน ISO9001:2015
4 หลักสูตรการเตรียมตัวและปรับเปลี่ยนเข้าสู่มาตรฐาน ISO14001:2015
5 หลักสูตรการบริหารความเสี่ยง ISO31000 Risk Management
6 หลักสูตรข้อกำหนด ISO/TS16949:2009
7 หลักสูตรข้อกำหนด OHSAS18001:2007
8 หลักสูตรข้อกำหนด GMP Codex
9 หลักสูตรข้อกำหนด HACCP
10 หลักสูตรข้อกำหนด ISO22000:2005 FSMS บรรยาย 1 วัน
11 หลักสูตรข้อกำหนด FSSC/ISO22000:2013
12 หลักสูตร Risk Management in Food Factory
13 หลักสูตรข้อกำหนด ISO/TS22002-1:2009
14 หลักสูตรข้อกำหนด BRC issue 7 & issue 6
15 หลักสูตร Pest Control in Factory
16 หลักสูตร Food Allergen Control
17 หลักสูตร Internal Auditor of GMP/HACCP
18 หลักสูตรข้อกำหนด ISO22301:2012 BCM
19 หลักสูตรข้อกำหนด SA8000
20 หลักสูตร มาตรฐานแรงงานไทย (มรท.2553)
21 หลักสูตรข้อกำหนด ISO50001:2011 EnMS บรรยาย 1 วัน
22 หลักสูตรเทคนิคการจัดทำเอกสารตามระบบ ISO
23 หลักสูตร Document Writing
24 หลักสูตรข้อกำหนด ISO13485:2012 Medical Devices
25 หลักสูตรการบริหารความเสี่ยงด้านเครื่องมือแพทย์ ISO14971:2007
26 หลักสูตร APQP
27 หลักสูตร PPAP
28 หลักสูตร FMEA
29 หลักสูตร Problem Solving By 8D, Why-Why & FMEA
30 หลักสูตร Root Cause Analysis and Corrective/ Preventive By 8D
31 หลักสูตร Why Why Analysis
32 หลักสูตร HO REN SO บรรยาย 1 วัน
33 หลักสูตร การสื่อสารแบบมีประสิทธิภาพ
34 หลักสูตร Environmental Laws
35 หลักสูตร Occupational Health and Safety Laws
36 หลักสูตร Environmental Occupational Health and Safety Laws
37 หลักสูตร Aspect Identification and Evaluation of ISO14001
38 หลักสูตร Risk Assessment of OHSAS18001
39 หลักสูตร Aspect & Risk Identification and Evaluation of ISO14001/OHSAS18001
40 หลักสูตร ISO45001:2016 กำลังจะเปิดเป็นหลักสูตรใหม่ ขณะนี้ยังเป็น CD Stage
41 หลักสูตร Integrated Management Systems: IMS ทุกระบบ ISO
(รวมได้ทุกมาตรฐาน: ISO9001/ISO14001/OHSAS18001/TS16949/ISO50001/
ISO20000/ISO27001/ISO22301/GMP/HACCP/FSSC/ISO22000/BRC/IFS)
42 หลักสูตร Coaching the Trainer
43 หลักสูตร Genius Supervisory เน้นหัวหน้างาน สอนเป็น ควบคุมดี กำลังเป็นที่นิยมมาก
44 หลักสูตร Genius Leadership กำลังเป็นที่นิยมมาก
45 หลักสูตร Effective QMR/ EMR/ OHSMR ของแต่ละมาตรฐาน
46 หลักสูตร The Manager
47 หลักสูตร การบริหารคุณภาพทั้งองค์กร (TQM)
48 หลักสูตร Introduction of Six Sigma
49 หลักสูตร Quality Management Principles (QMP) กำลังเป็นที่นิยมมาก
50 หลักสูตร กิจกรรมกลุ่มย่อย QCC
51 หลักสูตร การผลิตแบบ LEAN
52 หลักสูตร 5ส พื้นฐาน
53 หลักสูตร 5S สำหรับคณะกรรมการ กำลังเป็นที่นิยมมาก
54 หลักสูตร 5S Audit Technique
55 หลักสูตร การจัดการลดต้นทุนการผลิต กำลังเป็นที่นิยมมาก
56 หลักสูตร การบริหารคลังสินค้าเบื้องต้น
57 หลักสูตร Supply Chain Management and Logistic
58 หลักสูตร Key Performance Indicator (KPI)
59 หลักสูตร ข้อกำหนด ISO/IEC17025 Laboratory Accreditation
60 หลักสูตรข้อกำหนด ISO/IEC20000:2011 IT Service Management
61 หลักสูตรข้อกำหนด ISO/IEC27001 ISMS
62 หลักสูตร จิตสำนึก (Awareness) ด้านระบบบริหารต่างๆทุกมาตรฐาน
(ได้ทุกมาตรฐาน: ISO9001/ISO14001/OHSAS18001/TS16949/ISO50001/
ISO20000/ISO27001/ISO22301/GMP/HACCP/FSSC/ISO22000/BRC/IFS)
63 หลักสูตร Review Internal Auditor of ISO ทุกมาตรฐานแบบ 1 วัน
(ได้ทุกมาตรฐาน: ISO9001/ISO14001/OHSAS18001/TS16949/ISO50001/
ISO20000/ISO27001/ISO22301/GMP/HACCP/FSSC/ISO22000/BRC/IFS)
64 หลักสูตร Internal Auditor of HACCP แบบ 1 วัน
65 หลักสูตร Internal Auditor of GMP & HACCP แบบ 1 วัน
66 หลักสูตร Review Internal Auditor of ISO ทุกมาตรฐาน แบบ 1 วัน
กรณีอบรมฟรี เลือกได้จากข้างบน หลักสูตรใดก็ได้ จาก 1 - 66
หลักสูตรอบรม 2 วัน/ ที่บรรยายประจำ
67 หลักสูตรการตีความข้อกำหนดของ ISO/TS16949 บรรยายตีความแบบ 2 วัน
68 หลักสูตร Internal Auditor of ISO9001
69 หลักสูตร Internal Auditor of ISO/TS16949
70 หลักสูตร Internal Auditor of ISO14001
71 หลักสูตร Internal Auditor of OHSAS18001
72 หลักสูตร Internal Auditor of ISO9001 & ISO14001
73 หลักสูตร Internal Auditor of 9001 & OHSAS18001
74 หลักสูตร Internal Auditor of ISO14001 & OHSAS18001
75 หลักสูตร Internal Auditor of ISO9001 & ISO14001 & OHSAS18001
76 หลักสูตร Internal Auditor of ISO9001 & GMP & HACCP
77 หลักสูตร Internal Auditor of ISO9001 & ISO14001 & GMP & HACCP
78 หลักสูตร Internal Auditor of HACCP
79 หลักสูตร Internal Auditor of GMP & HACCP
80 หลักสูตร Internal Auditor of FSSC/ISO22000 บรรยาย 2 วัน
81 หลักสูตร Effective QMR & EMR
82 หลักสูตร Effective EMR & OHSMR
83 หลักสูตร Effective QMR & EMR & OHSMR แบบ 2 วัน
84 หลักสูตร Integrated Management Systems: IMS ทุกระบบ ISO บรรยายรวมระบบ
(ได้ทุกมาตรฐาน: ISO9001/ISO14001/OHSAS18001/TS16949/ISO50001/
ISO20000/ISO27001/ISO22301/GMP/HACCP/FSSC/ISO22000/BRC/IFS)
85 หลักสูตร Internal Auditor of BRC
85 หลักสูตร Internal Auditor of BRC
86 หลักสูตร MSA แบบ 2 วัน
87 หลักสูตร SPC แบบ 2 วัน
88 หลักสูตร Train the Trainer บรรยาย 2 วัน
89 หลักสูตรอื่นๆบรรยายหนึ่งถึงสามวัน ที่ออกแบบให้ประยุกต์ใช้งานจริง เพื่อความเหมาะสมและตรงกับความต้องการ
สอบถามรายละเอียดและเงื่อนไขต่างๆ ติดต่อ K.Nat 081 3029339, K.Sun 083 2431855
สำหรับลูกค้าเก่าของ KS มีราคาพิเศษสุดๆ ตามโบชัวร์ที่จัดส่งไปให้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น