IATF16949:2016
บทความต่างๆ Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/
ณ วันนี้ ระบบบริหารคุณภาพ ค่อนข้างจะนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง
ISO9001:2015 ยังน่าจะใช้รับรองอีกสักระยะ ไม่ปรับเวอร์ชั้น
แต่ด้านความปลอดภัยกับด้านแรงงาน น่าจะมีความเข้มงวดขึ้น
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 PDPA: Personal Data Protection Act
วันที่ 10 มิถุนายน 2565 จะมีผลบังคับใช้ โรงงานที่มีพนักงาน
ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ต้องมีจัดทำมาตรฐานระบบการจัดการ
อาชีวอนามัย ความปลอดภัย....
ดังนั้นโรงงานที่ได้รับรอง ISO45001:2018 ถือว่า มีครบถ้วนแล้ว
โรงงานที่ต้องมี บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย: บฉ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ช่วงนี้คนเข้าทดสอบมาก
โรงงานที่เข้าข่ายนี้ เข้าใจง่ายๆ คือ
1 มีวัตถุอันตราย 1,000,000 กิโลกรัมต่อปี ทั้งผลิต นำเข้า ส่งออก
2 พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป
3 เข้าข่ายวัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์
แต่ถ้ามีใช้สารเคมีอันตรายตั้งแต่ 1,000 กิโลกรัมต่อปี
ต้องรายงานกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี
เพิ่มจากที่ส่งรายงาน สอ.1 วัตถุอันตรายให้กระทรวงแรงงาน
ทุกสิ้นเดือนมกราคมของทุกปี
โรงงานที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรม ที่ใช้ก๊าซไวไฟหรือของเหลวไวไฟ
ที่มีปริมาณครอบครองตั้งแต่ 4,545 กิโลกรัม ต้องทำ
PSM: Process Safety Management
เพื่อความปลอดภัยจากไฟไหม้และเกิดการระเบิด
ถ้าทำระบบ ISO จะเข้าใจ มีทำ Internal Audit, Management Review
รวมถึงให้ External Auditor มาตรวจ ณ โรงงาน
สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link http://safetysolving.blogspot.com/
มีคำถาม IATF16949:2016 นำข้อกำหนดของ ISO9001:2015 New Version มาใช้เรียก HLS จำนวน 10 ข้อกำหนด (Requirements) ต่างกันอย่างไร ขออธิบาย มีต่างกันหลายเรื่องย่อย แต่ที่เขียนไม่คล้อยตามกัน มีที่เห็นชัดเจนคือ
1 QM ต้องจัดทำ หมายถึง เฉพาะใน IATF แต่ ISO9001 ไม่ระบุถึง
2 Preventive Action ยังมีอยู่ หมายถึง คงมีใน IATF แต่ ISO9001 ไม่มีระบุเป็นข้อกำหนดย่อยแบบ IATF16949:2016 ข้อย่อย ุ6.1.2.2
2 Preventive Action ยังมีอยู่ หมายถึง คงมีใน IATF แต่ ISO9001 ไม่มีระบุเป็นข้อกำหนดย่อยแบบ IATF16949:2016 ข้อย่อย ุ6.1.2.2
ขอย้ำว่า ISO New Version ต่างๆ ผู้เขียนให้ยึดหลัก ต้องจัดทำระเบียบปฏิบัติ (Documented Procedure) แม้ว่าข้อกำหนดไม่บังคับ ต้องการเพียงว่า Documented Information คือ มีเอกสารข้อมูลเป็นหลักฐานว่าทำจริง สำคัญมากการมี Procedure หรือ QP คือ ใส่ระเบียบเข้าไปในระบบ มั่นใจว่าระบบแข็งแรงกว่าการที่องค์กรไม่จัดทำ QP หรือถอดออก และทิ้งไป
ISO/TS16949:2009 ปรับเปลี่ยนเป็น New Version โดยเรียกชื่อว่า IATF16949:2016 เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2016 (พ.ศ. 2559) ไม่เรียก ISO/TS
1 วันที่ 14 กันยายน 2018 (2561) กำหนดเวลา Deadline ต้องเป็น IATF ทั่วโลก โรงงานคงต้องรีบ Up-Grade
2 หลังวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 2017 ไม่มีการตรวจ TS
3 วันที่ 1 ตุลาคม 2016 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2017 ยังให้ตรวจ TS ของโรงงานที่รับรอง ISO/TS16949:2009 ไปแล้ว ของ Re-Certificate, การตรวจติดตามผลการรับรอง (Surveillance)
4 การปรับหรือ Up-Grade เป็น IATF16949:2016 ต้องทำในรอบปกติ การตรวจให้ใช้ CB เดิม ถ้าเปลี่ยน CB ให้เริ่มใหม่หมด เรียกว่านับหนึ่งใหม่
5 การปรับหรือ Up-Grade เป็น IATF16949:2016 หลังวันที่ 1 ตุลาคม 2017 แม้จะตรวจกับ CB เดิม ให้เริ่มใหม่หมด เรียกว่านับหนึ่งใหม่
แต่ดีว่า ไม่ต้องตรวจ Stage 1 Audit ข้ามไป Stage 2 Audit จึงต้องเร่งสักมือนิด ประหยัดเงินได้ด้วย
6 ถ้าเปลี่ยน CB ละ ให้ให้เริ่มใหม่หมด เรียกว่านับหนึ่งใหม่
ต้องตรวจทั้ง Stage 1 Audit และต่อด้วย Stage 2 Audit เพิ่มงบประมาณเพราะว่า ทำช้าไป สุภาษิตที่ว่า "ช้าๆได้พร้าเล่มงาน" นั้น IATF เขาไม่รู้จัก 7 นับจากวันที่ 1 ตุลาคม 2016 นับระยะเวลานานเกิน 18 เดือนแล้วไซร์
ยื่นกับ CB ใดก็ตาม หมายความว่าต้องตรวจทั้ง Stage 1 Audit และต่อด้วย Stage 2 Audit ดีที่สุดประมาณเดือนมีนาคม 2017 ทะยอย Up-Grade เป็นเวลาที่เหมาะสม
8 การออก Certificate จะมีอายุ 3 ปี และได้หมายเลขใหม่ (New Number)
IATF 16949:2016 จะอ้างอิงโครงสร้างของมาตรฐาน ISO9001:2015
ฉะนั้นถ้าเข้าใจ ISO9001 New Version เรียกว่า มีต้นทุนสูง เข้าใจได้ไม่ยาก
เหตุผลที่มาของ IATF16949:2016
- ยกระดับการสอบกลับได้ของผลิตภัณฑ์ (Product traceability requirements)
- ค่ายรถยนต์ในกลุ่มอียู สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย รวมทั้งฝรั่งเศส เยอรมัน มีบทบาทมากพอสมควร
มาตรฐานนี้มองแบบคร่าวๆก่อน เช่น
o มาตรฐานมีครอบคลุม
ชัดเจน พัฒนาระบบไปที่ระดับล่างด้วย Sub
Tier 2…
o NTF No Trouble Found การวิเคราะห์ชิ้นงานเสียจากงานเคลม
นำ VDA 6.3
Process Audit มาใช้ได้
o มีข้อกำหนดสำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีซอฟแวร์ฝั่งตัวอยู่ภายในอุปกรณ์อิเล็คทรอนิก
o บริบทองค์กร
นำข้อกำหนดเฉพาะของลูกค้า (Customer
Specification Requirements) เข้ามาพิจารณาในระบบ
QMS
o กระบวนการที่ต้องกำหนดเป็นลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับความปลอดภัย
เช่น Product Safety
o ความเป็นผู้นำให้แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
และสิ่งแวดล้อม
o กำหนดผู้รับผิดชอบมีอำนาจหยุดสานการผลิต และการส่งมอบให้กับลูกค้า
o การประเมินความเสี่ยงครอบคลุมทุกด้าน รวมทั้งการเรียกคืนสินค้า (Recall)
o QM : Quality Manual คู่มือการบริหารคุณภาพ
o ไม่กำหนดการทบทวนข้อกำหนดด้านวิศวกรรม (Engineering Specification) ภายในสองสัปดาห์ทำการ
o การวางแผน ให้นำข้อกำหนดด้าน Logistics การวางแผนโครงการ ความเป็นไปได้ด้านการผลิต (Manufacturing Feasibility) มาพิจารณาด้วย
o การสื่อสารกับลูกค้า เรื่องข้อร้องเรียน พนักงานขายต้องได้รับการอบรม
o การออกแบบขั้นตอนต่างๆให้มีทีมงานคละแผนก (Multidisciplinary Team)
o การตรวจประเมิน Second Party ให้กำหนดการตรวจติดตามผล (Surveillance) อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
o ทบทวนแผนควบคุม (Control Plans) เมื่อมีปฏิบัติการแก้ไขข้อร้องเรียน
o ทบทวนแผนควบคุมภายในหนึ่งปี
o มาตรฐาน คู่มือการทำงานให้ครอบคลุมความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
o ต้องมีมาตรการทวนสอบกรณีหยุดการผลิตกะทันหัน หรือไม่เป็นไปตามแผน
o เกี่ยวกับ TPM การบำรุงรักษาทวีผล
o กำหนดเป้าหมายการบำรุงรักษา ข้อมูลนำเข้าทบทวนงานบริหารคุณภาพ
o ต้องกำหนดผู้รับผิดชอบและผู้ช่วยสำรอง ให้จัดการข้อมูลของลูกค้าเกี่ยวกับการวางแผนการผลิต ประวัติฝึกอบรมให้จัดเก็บรักษา
o พนักงานสายผลิตต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับชิ้นงานต้องสงสัย/ NC
o ให้ประเมินความเสี่ยงชิ้นงานซ่อม (Re-Work)
o กำหนดการใช้เครื่องมือสถิติ DFMEA, PFMEA
o ติดตามความพึงพอใจ การเรียกคืน ต้องทบทวนข้อมูลสมรรถนะที่ลูกค้าจัดทำผ่านระบบออนไลน์ และการประเมินผลสมรรถนะจากลูกค้า
o กำหนดความสามารถของ Internal Auditor ชัดเจน ต้องเข้าใจผลกระทบ ปัญหา และกระบวนการ
o สิ่งเปลี่ยนแปลงส่งผลกระทบกับปัจจัยภานใน/ภายนอกกับระบบนำเข้าทบทวนงานบริหารคุณภาพ
o การปรับปรุงให้ใช้ตัวป้องกันความล้มเหลว/พลั้งเผลอ ความถี่ในการทดสอบระบุใน PFMEA และ Control Plans
o ชิ้นงานตัว Master ต้องสามารถชี้บ่งและสอบกลับได้
o จัดทำแผนแก้ไข เกี่ยวกับตัวป้องกันความล้มเหลว
ข้อความข้างบน จะพบว่าเป็นเรื่องที่จะมาแจงว่าของข้อกำหนดใดบ้าง หรือผู้เขียนมีเวลาจะมาระบุสิ่งที่ IATF16949:2016 เพิ่มขึ้นมาใหม่ ต่างจากตอนเป็น ISO/TS16949:2009 & ISO9001:2008 จุดใดบ้างo การประเมินความเสี่ยงครอบคลุมทุกด้าน รวมทั้งการเรียกคืนสินค้า (Recall)
o QM : Quality Manual คู่มือการบริหารคุณภาพ
o ไม่กำหนดการทบทวนข้อกำหนดด้านวิศวกรรม (Engineering Specification) ภายในสองสัปดาห์ทำการ
o การวางแผน ให้นำข้อกำหนดด้าน Logistics การวางแผนโครงการ ความเป็นไปได้ด้านการผลิต (Manufacturing Feasibility) มาพิจารณาด้วย
o การสื่อสารกับลูกค้า เรื่องข้อร้องเรียน พนักงานขายต้องได้รับการอบรม
o การออกแบบขั้นตอนต่างๆให้มีทีมงานคละแผนก (Multidisciplinary Team)
o การตรวจประเมิน Second Party ให้กำหนดการตรวจติดตามผล (Surveillance) อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
o ทบทวนแผนควบคุม (Control Plans) เมื่อมีปฏิบัติการแก้ไขข้อร้องเรียน
o ทบทวนแผนควบคุมภายในหนึ่งปี
o มาตรฐาน คู่มือการทำงานให้ครอบคลุมความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
o ต้องมีมาตรการทวนสอบกรณีหยุดการผลิตกะทันหัน หรือไม่เป็นไปตามแผน
o เกี่ยวกับ TPM การบำรุงรักษาทวีผล
o กำหนดเป้าหมายการบำรุงรักษา ข้อมูลนำเข้าทบทวนงานบริหารคุณภาพ
o ต้องกำหนดผู้รับผิดชอบและผู้ช่วยสำรอง ให้จัดการข้อมูลของลูกค้าเกี่ยวกับการวางแผนการผลิต ประวัติฝึกอบรมให้จัดเก็บรักษา
o พนักงานสายผลิตต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับชิ้นงานต้องสงสัย/ NC
o ให้ประเมินความเสี่ยงชิ้นงานซ่อม (Re-Work)
o กำหนดการใช้เครื่องมือสถิติ DFMEA, PFMEA
o ติดตามความพึงพอใจ การเรียกคืน ต้องทบทวนข้อมูลสมรรถนะที่ลูกค้าจัดทำผ่านระบบออนไลน์ และการประเมินผลสมรรถนะจากลูกค้า
o กำหนดความสามารถของ Internal Auditor ชัดเจน ต้องเข้าใจผลกระทบ ปัญหา และกระบวนการ
o สิ่งเปลี่ยนแปลงส่งผลกระทบกับปัจจัยภานใน/ภายนอกกับระบบนำเข้าทบทวนงานบริหารคุณภาพ
o การปรับปรุงให้ใช้ตัวป้องกันความล้มเหลว/พลั้งเผลอ ความถี่ในการทดสอบระบุใน PFMEA และ Control Plans
o ชิ้นงานตัว Master ต้องสามารถชี้บ่งและสอบกลับได้
o จัดทำแผนแก้ไข เกี่ยวกับตัวป้องกันความล้มเหลว
ยังดีที่ว่า IATF16949:2016 ข้อกำหนดใช้โครงสร้างเหมือนกับ ISO9001:2015 มีข้อกำหนด 10 หมวด
หลักสูตรข้อกำหนด IATF16949:2016 ต้องอบรม 2 วัน
หน่วยงานให้การรับรอง IATF16949:2016 ส่วนใหญ่พร้อมตรวจประเมินตาม New Standard ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2017 หลังจาก CBs เตรียมตัว อบรมผู้ตรวจประเมินรองรับด้วยเช่นกัน
เขียนต่อคราวหน้า ......................................................................................
หลักสูตรฝึกอบรม
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
การประยุกต์ใช้ PFMEA in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
ข้อกำหนด การบริหารความเสี่ยง และผู้ตรวจติดตามภายใน
ข้อกำหนด การบริหารความเสี่ยง และผู้ตรวจติดตามภายใน
Requirements, Risk Management, Internal Auditor
ISO9001:2015 QMS
ISO14001:2015 EMS
IATF16949:2016 AQMS
Genius QMR/EMR/SMR
ISO45001:2018 OH&SMS
The Manager & Leadership
ISO/FSSC22000:2018 FSMS
GHP/BRC/HACCP/ ISO17025
7 Quality Management Principles
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง
Root Cause Analysis/ 5S/ Walk Rally
การคิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking)
ISO13485 Medical Device/ ISO22301 BCMs
ISO19011:2018 แนะนำแนวทางการตรวจประเมิน
Core Tools: APQP/ PPAP/ FMEA/ SPC/ MSA/ 8D
Genius Supervisory/ ISO & IATF16949 Awareness
Control of Documented Information for ISO/IATF16949
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Management of Change: MOC)
หลักสูตรอื่นๆออกแบบให้ตามที่ต้องการอบรม"as your require"
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
ติดต่อ K.NAT K.Sun 081 3029339, 081 6493828, 083 2431855
ksnationconsultant@hotmail.com
isoiatf@hotmail.com
ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
"as your require"
In-House Training: http://ksnationconsultant.blogspot.com/
http://ksthailand.blogspot.com/
บทความ ISO9001&IATF16949/TQM/Six Sigma สามารถคลิ๊ค
บทความ GMP/HACCP/FSMS/FSSC22000 link: http://qualitysolving.blogspot.com/
บทความ EMS/OH&S /SA8000 link: http://safetysolving.blogspot.com/
Check List ISO ทุกระบบ link: http://Mcqmrtraining-Mcqmr.blogspot.com/
หรือ SA8000 Check List link ที่ http://McQMRTraining.blogspot.com/
สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆ
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี
บทความด้านระบบการจัดการต่างๆของ McQMR และ Soonthorn Ngamprompong หรือ ของสุนทร งามพร้อมพงศ์ (อาจารย์ศรราม) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท KS NATION CONSULTANTCO.,LTD. ห้ามสำเนาและคัดลอกโดยไม่ได้รับอนุญาต
Copy Right, All Rights Reserved.
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
จึงขอแจ้งให้ทราบว่าจะมีนโยบายความเป็นส่วนตัวแจ้งให้ทราบทุกครั้ง
ที่ ติดต่อเรื่องการอบรมภายในเพื่อแจ้ง KS Privacy Policy
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น